วันพุธที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

กิจกรรม 14 - 18 กุมภาพันธ์ 2554

1.วัตถุที่ตกแบบเสรีกับวัตถุที่เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จากที่ระดับความสูงเท่ากัน ข้อใดถูกต้อง

1 เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของทั้งสองกรณ๊ ไม่เท่ากัน
2 เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของทั้งสองกรณี เท่ากันเสมอ
3 ความเร่งของการเคลื่อนที่ของทั้งสองกรณี เท่ากันเสมอ
4 ความเร็วต้นของการเคลื่อนที่ของทั้งสองกรณี เท่ากันเสมอ

ตอบข้อ 3
http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/2/2/test/projectile/t01.html

2. การเคลื่อนที่ของวัตถุแบบโพรเจกไทล์ มีลักษณะดังข้อใด

ก. แนวการเคลื่อนที่ มีทั้งในแนวดิ่งและในแนวระดับ พร้อม ๆ กัน
ข. การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุภายใต้ความเร่ง g กับเวลา t
ค. ความเร็วต้นในแนวระดับที่มีค่ามากกว่าศูนย์ และมีค่าคงตัว ตลอดการเคื่อนที่
ง. เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ ตามแนวโค้งพาราโบลา จะมีค่ามากกว่าเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งข้อที่ถูกต้องคือข้อใด
1ข้อ ก. และ ข.
2ข้อ ข. และ ค.
3ข้อ ค. และ ง.
4ข้อ ก. ข.และ ค.

ตอบข้อ 4
http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/2/2/test/projectile/t01.html

3. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนเส้นตรง เวลาผ่านไป 4 วินาที มีความเร็วเป็น 8 เมตร/วินาทีถ้าอัตราเร็วเพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ รถยนต์คันนี้มีความเร่งท่าใด

1. 2 m/s 2. 4 m/s

3. 12m/s 4.14 m/s

ตอบข้อ 1

4. เด็กคนหนึ่งเดินไปทางทิศเหนือได้ระยะทาง 30 เมตร จากนั้นเดินไปทางทิศตะวันออกได้ระยะทาง 400 เมตร ใช้เวลาเดินทางทั้งหมด 500 วินาที เด็กคนนี้เดินด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยกี่เมตร/วินาที

1. 0.2 m/s 2. 1.0 m/s

3.1.4 m/s 4. 2.0 m/s
ตอบข้อ 3
5. วางลวดไว้ในสนามแม่เหล็กดังรูป เมื่อให้กระแสไฟฟ้าเข้าไปในเส้นลวดตัวนำจะเกิดแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็กกระทำต่อลวดนี้ในทิศทางใด



1. ไปทางซ้าย (เข้าหา N) 2. ไปทางขวา (เข้าหา S)
3. ลงข้างล่าง 4. ขึ้นด้านบน
คอบข้อ 4
6.อิเล็กตรอนอนุภาคหนึ่งกำลังเคลื่อนที่ไปทางเหนือในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กชี้ไปทางใต้ แล้วแรงแม่เหล็กที่กระทำต่ออิเล็กตรอนเป็นอย่างไร

1. ศูนย์
2. ชี้ขึ้น
3. ชี้ลง
4. ชี้ทางตะวันออก
5. ชี้ทางตะวันตก

ตอบข้อ 1

7. สนามแม่เหล็กไม่สามารถทำอะไรดังต่อไปนี้ได้

1. ออกแรงกระทำต่ออนุภาคที่มีประจุ
2. เปลี่ยนความเร็วของอนุภาคที่มีประจุ
3. เปลี่ยนโมเมนตัมของอนุภาคที่มีประจุ
4. เปลี่ยนพลังงานจลน์ของอนุภาคที่มีประจุ


ตอบข้อ 4
8.สนามแม่เหล็กสม่ำเสมอมีทิศทางพุ่งเข้าสู่หน้ากระดาษ มีอนุภาคซึ่งมีประจุกำลังเคลื่อนที่ในระนาบของกระดาษตามเส้นทางก้นหอยตามเข็มนาฬิกาที่รัศมีจะลดลงเรื่อยๆ ดังรูปภาพข้างล่าง จะอธิบายอย่างสมเหตุสมผลได้ว่าอย่างไร



1. ประจุเป็นบวกและกำลังลดอัตราเร็ว
2. ประจุเป็นลบและกำลังลดอัตราเร็ว
3. ประจุเป็นบวกและกำลังเพิ่มอัตราเร็ว
4. ประจุเป็นลบและกำลังเพิ่มอัตราเร็ว

ตอบข้อ 2
9.มีสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอซึ่งมีทิศทางตามแกน บวก อนุภาคซึ่งมีประจุบวกกำลังเคลื่อนที่ในทิศทางตามแกน บวกผ่านสนามนี้ แล้วจะต้องใส่สนามไฟฟ้าในทิศทางใดเพื่อให้แรงสุทธิที่กระทำต่ออนุภาคนี้เป็นศูนย์


1. ตามแกน ด้านบวก
2. ตามแกน ด้านลบ
3. ตามแกน ด้านบวก
4. ตามแกน ด้านลบ
ตอบข้อ 2
10.จากรูปข้างล่างนี้แสดงสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ มีทิศทางไปทางซ้ายและเส้นลวดนำกระแสเข้าสู่หน้ากระดาษ แล้วแรงแม่เหล็กที่กระทำต่อเส้นลวดจะมีทิศทางไปทางไหน


1. ไปสู่ด้านบนของกระดาษ
2. ไปสู่ด้านล่างของกระดาษ
3. ไปทางซ้าย
4. ไปทางขวา

ตอบข้อ 1

http://www.vcharkarn.com/exam/index.php/set/1030

กิจกรรม 15 พฤศจิกายน 2553



สืบค้นข้อมูล ดาวศุกร์ เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 2 ชื่อละติน
ของดาวศุกร์ (Venus)
ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A8%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%8C
ตอบข้อ 2



สืบค้นข้อมูล องค์ประกอบหลักของดาวพฤหัสบดีคือ ก๊าซไนโตรเจนและก๊าซฮีเลียม ซึ่งเป็นองค์ประกอบประมาณ 75% และ 25%
ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/prae/narerat/the_solar_system/jupiter.htm
ตอบข้อ 2.





สืบค้นข้อมูล อาทิตย์จะจบ ชีวิตลงด้วยการขยายตัวแต่จะไม่ระเบิด เพราะแรงโน้มถ่วงมีมากกว่าแรงดัน ในที่สุด ดวงอาทิตย์จะยุบตัวลงอย่างสงบกลายเป็นดาวขนาดเล็ก เรียกว่า ดาวนิวตรอน
ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/prae/narerat/the_solar_system/sun.htm
ตอบข้อ 4.




สืบค้นข้อมูล ความสว่างของดาวฤกษ์บอกได้จากตัวเลขที่ไม่มีหน่วยที่เรียกว่า อันดับความสว่าง หรือ แมกนิจูด ( Magnitude ) ของดาวที่มีอันดับความสว่างต่างกัน 1 จะสว่าสงมากกว่ากัน 2 เท่าครึ่ง ดดยอันดับความสว่างทีีเป็นบวกหรือตัวเลขมาก ๆ จะมีความสว่างน้อย ๆ เช่นดาวที่มีอันดับความสว่าง - 1 จะมีความสว่างมากกว่าดาวฤกษ์ที่มีความสว่าง 1
ที่มา http://www.sopon.ac.th/science/unchalee-v/page%2003%20sec%2001.htm
ตอบข้อ 4.




สืบค้นข้อมูล ปีแสง คือ หน่วยของระยะทางในทางดาราศาสตร์ 1 ปีแสง เท่ากับระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี
ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87
ตอบข้อ 1.




สืบค้นข้อมูล จุดจบของดาวฤกษ์ที่มวลมาก คือการระเบิดอย่างรุนแรง ที่เรียกว่า ซูเปอร์โนวา (supernova) แรงโน้มถ่วง จะทำให้ดาวยุบตัวลงกลายเป็นดาวนิวตรอนหรือหลุมดำ ในขณะเดียวกันก็มีแรงสะท้อนที่ทำให้ส่วนภายนอกของดาวระเบิดเกิดธาตุหนักต่างๆ เช่น ยูเรนียม ทองคำ ฯลฯ ซึ่งถูกสาด กระจายออกสู่อวกาศกลายเป็นส่วนประกอบของเนบิวลารุ่นใหม่ และเป็นต้นกำเนิดของดาวฤกษ์รุ่นต่อไป เช่นระบบสุริยะก็เกิดจากเนบิวลารุ่นหลัง ดวงอาทิตย์และบริวารจึงมีธาตุต่างๆทุกชนิด เป็นองค์ประกอบ
ที่มา http://www.chaiyatos.com/sky_lesson2.htm
ตอบข้อ 2.



สืบค้นข้อมูล


ดาวฤกษ์ที่มีมากมายบนท้องฟ้า จะมีสีและอุณหภูมิแตกต่างกันสีของดาวฤกษ์ สามารถบอกถึงอุณหภูมิด้วย เช่น ดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิต่ำจะมีสีข้อนข้างแดง และดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิสูงจะมีสีขาวหรือสีขาวอมน้ำเงิน ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science03/06/star/fixstar2.html
ตอบข้อ 2.




สืบค้นข้อมูล ดาวที่มีอันดับความสว่างต่างกัน 1 จะสว่าสงมากกว่ากัน 2 เท่าครึ่ง ดดยอันดับความสว่างทีีเป็นบวกหรือตัวเลขมาก ๆ จะมีความสว่างน้อย ๆ เช่นดาวที่มีอันดับความสว่าง - 1 จะมีความสว่างมากกว่าดาวฤกษ์ที่มีความสว่าง 1
ที่มา http://www.sopon.ac.th/science/unchalee-v/page%2003%20sec%2001.htm
ตอบข้อ 2

กิจกรรม 26 พฤศจิกายน 2553





สืบค้นข้อมูล


ดวงอาทิตย์ เป็นดาวฤกษ์ที่เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะของเรา ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย และดาวหาง ล้วนแล้วแต่โคจรรอบดวงอาทิตย์ทั้งสิ้น ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่สำคัญยิ่งต่อโลก เช่น ให้พลังงานแก่พืชในรูปของแสง และพืชก็เปลี่ยนแสงให้เป็นพลังงานในการตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นน้ำตาล ตลอดจนทำให้โลกมีสภาวะอากาศหลากหลาย เอื้อต่อการดำรงชีวิต
ดวงอาทิตย์ประกอบด้วยไฮโดรเจนอยู่ร้อยละ 74 โดยมวล ฮีเลียมร้อยละ 25 โดยมวล และธาตุอื่นๆ ในปริมาณเล็กน้อย ดวงอาทิตย์จัดอยู่ในสเปกตรัม G2V ซึ่ง G2 หมายความว่าดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิพื้นผิวประมาณ 5,780 เคลวิน (ประมาณ 5,515 องศาเซลเซียส หรือ 9,940 องศาฟาเรนไฮ) ดวงอาทิตย์จึงมีสีขาว แต่เห็นบนโลกเป็นสีเหลือง เนื่องจากการกระเจิงของแสง ส่วน V (เลข 5) บ่งบอกว่าดวงอาทิตย์อยู่ในลำดับหลัก ผลิตพลังงานโดยการหลอมไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม และอยู่ในสภาพสมดุล ไม่ยุบตัวหรือขยายตัวดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากศูนย์กลางดาราจักรทางช้างเผือกเป็นระยะทางโดยประมาณ 26,000 ปีแสง ใช้เวลาโคจรครบรอบดาราจักรประมาณ 225-250 ล้านปี มีอัตราเร็วในวงโคจร 215 กิโลเมตรต่อวินาที หรือ 1 ปีแสง ทุกๆ 1,400 ปี
ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C





สืบค้นข้อมุล


หินภูเขาไฟ (Volcanic rock)หรือ หินอัคนีพุ (Extrusive rock) เกิดขึ้นเมื่อหินร้อนเหลวหรือแมกมาถูกดันและปะทุออกมานอกเปลือกโลก ซึ่งอาจจะออกมาตามรอยแตก หรือระเบิดออกมาเป็นภูเขาไฟกลายเป็นลาวา ลาวาจะเย็นตัวอย่างรวดเร็ว และแข็งตัวเป็นหินซึ่งมีผลึกขนาดเล็กถึงเล็กมาก ส่วนใหญ่จะมองไม่เห็นรูปของผลึกด้วยตาเปล่า ลาวาที่ถูกขับมาจากส่วนลึกของเปลือกโลกจะประกอบด้วยแร่ที่มีธาตุเหล็กและแมกนีเซียมสูง เมื่อแข็งตัวก็จะได้หินภูเขาไฟสีดำ ลาวาที่ถูกขับออกมาจากเปลือกโลกในระดับความลึกไม่มากนัก จะกลายเป็นหินภูเขาไฟสีอ่อน การปะทุขึ้นมาของแมกมาเกิดขึ้นได้หลายรูปแบบ ได้แก่


การปะทุแบบไม่รุนแรง เป็นการปะทุตามปล่องหรือรอยแตก รอยแยกของแผ่นเปลือกโลกลาวาไหลหลากเอ่อล้นไป ตามลักษณะภูมิประเทศ ลาวาจะถ่ายโอนความร้อนให้กับบรรยากาศภายนอกอย่างรวดเร็ว ทำให้อะตอมของธาตุ ต่าง ๆ มีเวลาน้อยในการจับตัวเป็นผลึก หินลาวาหลากจึงประกอบด้วยแร่ที่มีผลึกขนาดเล็กหรือเล็กมาก ไม่สามารถมองเห็นและจำแนกผลึกได้ด้วยตาเปล่า เช่น หินไรโอไลต์(Ryolite), หินแอนดีไซต์(Andesite), หินบะซอลต์(Basalt)
หินไรโอไลต์ (Ryolite) เป็นหินอัคนีพุซึ่งเกิดจากการเย็นตัวของลาวาที่มีความหนืดมาก มีปริมาณซิลิกามากกว่า 66 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อละเอียดซึ่งประกอบด้วยผลึกแร่ขนาดเล็ก มีแร่องค์ประกอบเหมือนกับหินแกรนิต แต่ทว่าผลึกเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นได้ ส่วนมากมีสีชมพู และสีเหลือง
หินแอนดีไซต์ (Andesite) เป็นหินอัคนีพุซึ่งเกิดจากการเย็นตัวของลาวาที่มีความหนืดปานกลาง มีปริมาณซิลิกาอยู่ในช่วง 52-66 เปอร์เซ็นต์ เกิดในลักษณะเดียวกับหินไรโอไรต์ แต่มีองค์ประกอบของแมกนีเซียมและเหล็กมากกว่า จึงมีสีเขียวเข้ม
หินบะซอลต์ (Basalt) เป็นหินอัคนีพุ เนื้อละเอียด เกิดจากการเย็นตัวของลาวาที่มีความหนืดน้อย มีปริมาณซิลิกาอยู่ในช่วง 45-52 เปอร์เซ็นต์ มีสีเข้มเนื่องจากประกอบด้วยแร่ไพร็อกซีนเป็นส่วนใหญ่ อาจมีแร่โอลิวีนปนมาด้วย เนื่องจากเกิดขึ้นจากแมกมาใต้เปลือกโลก หินบะซอลต์หลายแห่งในประเทศไทยเป็นแหล่งกำเนิดของอัญมณี (พลอยชนิดต่างๆ) เนื่องจากแมกมาดันผลึกแร่ซึ่งอยู่ลึกใต้เปลือกโลก ให้โผล่ขึ้นมาเหนือพื้นผิว
หินออบซีเดียน (Obsedian) เป็นหินอัคนีพุชนิดหนึ่งที่เกิดจากการเย็นตัวอย่างรวดเร็วจนผลึกมีขนาดเล็กมากจนถึงไม่มีเลย หินออบซีเดียนเป็นหินอัคนีพุที่มีเนื้อแก้วสีดำ
การปะทุแบบรุนแรง เป็นการปะทุแบบระเบิด เกิดตามปล่องภูเขาไฟ ขณะที่แมกมาเกิดปะทุพ่นขึ้นมาด้วยแรง ระเบิดพร้อมกับฝุ่น ก๊าซ เถ้า ไอน้ำ และชิ้นวัตถุที่มีรูปร่างขนาดต่างๆ กันกระเด็นขึ้นไปบนอากาศ ชิ้นวัตถุเหล่านี้อาจเป็นเศษหินและแร่ เย็นตัวบนผิวโลกตกลงมาสะสมตัวทำให้เกิดแหล่งสะสมชิ้นภูเขาไฟ เมื่อแข็งตัวจะเป็นหินชิ้นภูเขาไฟหรือหินตะกอนภูเขาไฟ (pyroclastic rock)ได้แก่ หินทัฟฟ์ (tuff), หินแอกโกเมอเรต (agglomerate), หินพัมมิซ (Pumice), หินสคอเรีย (Scoria), หินออบซีเดียน(Obsedian) เป็นต้น
หินทัฟฟ์ (Tuff) เป็นหินเถ้าภูเขาไฟ พบมากในบริเวณที่ราบภาคกลาง โดยพบเป็นบริเวณแคบทางด้านตะวันตกตั้งแต่ด้านตะวันตกของจังหวัดอุทัยธานี จนถึงด้านตะวันออกของจังหวัดนครสวรรค์, บริเวณเทือกเขาเพชรบูรณ์ และบริเวณฝั่งทะเลภาคตะวันออก
หินแอกโกเมอเรต(Agglomerate)
หินพัมมิซ (Pumice) เป็นหินแก้วภูเขาไฟชนิดหนึ่งซึ่งมีฟองก๊าซเล็กๆ อยู่ในเนื้อมากมายจนโพรกคล้ายฟองน้ำ มีส่วนประกอบเหมือนหินไรโอไลต์ มีน้ำหนักเบา ชาวบ้านเรียกว่า หินส้ม ใช้ขัดถูภาชนะทำให้มีผิววาว
หินสคอเรีย (Scoria)เป็นหินแข็ง สาก เปราะ เบา และมีรูพรุน ไม่ทนต่อการสึกกร่อน ใช้ทำหินสำหรับขัด
ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%9F






สืบค้นข้อมูล


เทือกเขาหิมาลัยเกิดจากชนกันของขอบทวีปตรงส่วนที่เป็นแผ่นดิน ระหว่างอินเดียกับทวีปเอเชีย จนดันเปลือกโลกให้ดันตัวสูงขึ้นมา
เทือกเขาหิมาลัยนี้เป็นที่ตั้งของยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก โดยเฉลี่ยมีความสูงอยู่ที่ระดับ 5 กิโลเมตรเหนือระดับน้ำทะเล ยอดเขาเอเวอเรสต์บนเทือกเขาหิมาลัยสูงจากระดับน้ำทะเลราวๆ 8.8 กิโลเมตร (8,844 เมตร) ที่รู้จักกันดี คือ ยอดเขาเอเวอร์เรสต์ และถูกพิชิตโดยนักไต่เขาชาวอังกฤษเมื่อปี 1953
ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-6/no07/himaliya.html

การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก

เปลือกโลกมิได้เป็นผ่นเดียวต่อเนื่องติดกันดังเช่นเปลือกไข่ หากแต่เหมือนเปลือกไข่แตกร้าว มีแผ่นหลายแผ่นเรียงชิดติดกันเรียกว่า “เพลต” (Plate) ซึ่งมีอยู่ประมาณ 20 เพลต เพลตที่มีขนาดใหญ่ ได้แก่ เพลตแปซิฟิก เพลตอเมริกาเหนือ เพลตอเมริกาใต้ เพลตยูเรเซีย เพลตแอฟริกา เพลตอินโด-ออสเตรเลีย และเพลตแอนตาร์กติก เป็นต้น เพลตแปซิฟิกเป็นเพลตที่ใหญ่ที่สุดและไม่มีเปลือกทวีป กินอาณาเขตหนึ่งในสามของพื้นผิวโลก เพลตทุกเพลตเคลื่อนตัวเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างอยู่ตลอดเวลา (ดูภาพที่ 1)


การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก


เปลือกโลกมิได้เป็นผ่นเดียวต่อเนื่องติดกันดังเช่นเปลือกไข่ หากแต่เหมือนเปลือกไข่แตกร้าว มีแผ่นหลายแผ่นเรียงชิดติดกันเรียกว่า “เพลต” (Plate) ซึ่งมีอยู่ประมาณ 20 เพลต เพลตที่มีขนาดใหญ่ ได้แก่ เพลตแปซิฟิก เพลตอเมริกาเหนือ เพลตอเมริกาใต้ เพลตยูเรเซีย เพลตแอฟริกา เพลตอินโด-ออสเตรเลีย และเพลตแอนตาร์กติก เป็นต้น เพลตแปซิฟิกเป็นเพลตที่ใหญ่ที่สุดและไม่มีเปลือกทวีป กินอาณาเขตหนึ่งในสามของพื้นผิวโลก เพลตทุกเพลตเคลื่อนตัวเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างอยู่ตลอดเวลา (ดูภาพที่ 1)

ส่งานกิจกรรม 8 พฤศจิกายน 2553

ข้อ 60










ที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=38529
สืบค้นข้อมูล

ส่วนรอยเลื่อน ที่น่าจับมอง คือรอยเลื่อนสะแกง หรือสะเกียงในประเทศพม่า เพราะรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ เป็นรอยเลื่อนแขนงของลอยเลื่อนสะแกง เพราะมีเขื่อนศรีนครินทร์ตั้งอยู่ โดยในปี 2526 เคยเกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.9 ริกเตอร์ เหนือเขื่อนศรีนครินทร์ประมาณ 60 กม.แต่ไม่ได้ส่งผลเสีย และสร้างความเสียหายกับเขื่อน ดังนั้น ควรต้องมีแผนป้องกันภัย แผนเตือนภัย แผนอพยพ และแผนจัดการ เมื่อเกิดภัยพิบัติ นอกจากนี้ ยังรวมถึงรอยเลื่อนในภาคเหนือของไทยด้วย ส่วนรอยเลื่อนขนาดใหญ่นอกประเทศนอกจากรอยเลื่อนสะแกงแล้ว ยังมีรอยเลื่อนแม่น้ำแดง ในประเทศเวียดนาม อย่างไรก็ตาม ถือว่าประเทศไทยโชคดีที่บรรพบุรุษเลือกพื้นที่ที่มีความเสี่ยงเกิดแผ่นดิน ไหวค่อนข้างต่ำ
สำหรับรอย เลื่อนในประเทศไทยที่มีพลังอยู่มี 13 กลุ่ม ประกอบด้วย รอยเลื่อนแม่จันและแม่อิง ครอบคลุมจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่ รอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน ครอบคลุมแม่ฮ่องสอน และตาก รอยเลื่อนเมย ครอบคลุมตากและกำแพงเพชร รอยเลื่อนแม่ทา ครอบคลุม เชียงใหม่, ลำพูน และเชียงราย รอยเลื่อนเถิน ครอบคลุมลำปาง และแพร่ รอยเลื่อนพะเยา ครอบคลุมลำปาง, เชียงรายและพะเยา รอยเลื่อนปัว ครอบคลุมน่าน รอยเลื่อนอุตรดิตถ์ ครอบคลุมอุตรดิตถ์ รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ ครอบคลุมกาญจนบุรีและราชบุรี รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ ครอบคลุมกาญจนบุรีและอุทัยธานี รอยเลื่อนท่าแขก ครอบคลุมหนองคายและนครพนม รอยเลื่อนระนอง ครอบคลุมประจวบคีรีขันธ์, ชุมพร, ระนอง, และพังงา รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย ครอบคลุมสุราษฎร์ธานี, กระบี่ และพังงา
ตอบ ข้อ 2.พม่า


ข้อ 61




ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%9B

สืบค้นข้อมูล
ทวีป หมายถึง แผ่นดินขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกันบนพื้นโลก การแบ่งทวีปในโลกไม่มีมาตรฐานที่แน่นอน โดยทั่วไปทวีปต้องเป็นพื้นกว้างใหญ่ ไม่รวมพื้นที่ที่จมอยู่ใต้น้ำ และมีเขตแดนเด่นชัดทางภูมิศาสตร์ แม้ว่าบางคนเชื่อว่าในโลกมีทวีปอยู่ 4-5 ทวีป แต่ส่วนใหญ่จะนับได้ 6-7 ทวีป




7 ทวีป : แอฟริกา แอนตาร์กติกา เอเชีย ยุโรป อเมริกาเหนือ ออสเตรเลีย และอเมริกาใต้
6 ทวีป : แอฟริกา แอนตาร์กติกา โอเชียเนีย ยูเรเชีย อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้
ปัจจุบันผิวโลกมีแผ่นเปลือกโลกหลักอยู่ 7 แผ่น และแผ่นเล็ก ๆ อีกมาก การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกทำให้เกิดการแยกตัวออกจากกัน และการรวมเข้าด้วยกันของแต่ละแผ่น ในอดีตจึงมีแผ่นเปลือกที่ไม่พบในปัจจุบัน




ตอบ ข้อ 1.



ข้อ62




ที่มา : http://region3.prd.go.th/natural-disaster/journal4.php
สืบค้นข้อมูล
แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ตามธรรมชาติที่เกิดจากเคลื่อนตัวโดยฉับพลันของ เปลือกโลกบริเวณขอบของแผ่นเปลือกโลกที่แนวแผ่นดินไหว เพราะหินในชั้นหลอมละลายที่อยู่ใต้เปลือกโลกได้รับความร้อนจากแกนโลก และลอยตัวผลักดันให้เปลือกโลกแต่ละชิ้นมีการเคลื่อนที่ไปในทิศทางต่าง ๆ ที่มีการสะสมพลังงานไว้ เมื่อพลังงานมีมากจึงชนและเสียดสีกันหรือแยกออกจากกัน โดยการสะสมของพลังงานที่เปลือกโลกจะถูกส่งผ่านไปยังเปลือกพื้นโลกของทวีป รอยร้าวของหินใต้พื้นโลกเรียกว่า “รอยเลื่อน” และหากรอยเลื่อนที่มีอยู่ได้รับแรงอัดมาก ๆ ก็จะทำให้เกิดแผ่นดินไหวได้เช่นเดียวกัน โดยรอยเลื่อนที่จะส่งผลให้เกิดผลกระทบจากการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย ได้แก่ แนวในมหาสมุทรอินเดีย สุมาตรา พม่า และรอยเลื่อนในประเทศพม่า จีนตอนใต้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว รอยเลื่อนภายในประเทศส่วนใหญ่จะอยู่ในภาคเหนือและภาคตะวันตก โดยรอยเลื่อนที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทยมีทั้งสิ้น 9 แห่ง เช่น รอยเลื่อนแพร่ รอยเลื่อนแม่ทา รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และรอยเลื่อนระนอง 1.รอยเลื่อนเชียงแสน วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบนสุดของประเทศ มีความยาวประมาณ 130 กิโลเมตร โดยเริ่มต้นจากแนวร่องน้ำแม่จันไปทางทิศตะวันออก ผ่านอำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย แล้วข้ามด้านใต้ของอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวลำน้ำเงิน ทางด้านเหนือของอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2521 มีแผ่นดินไหวขนาดใหญ่กว่า 3 ริคเตอร์ เกิดตามแนว รอยเลื่อนนี้ 10 ครั้ง และ 3 ครั้งมีขนาดใหญ่กว่า 4.5 ริคเตอร์และเป็นแผ่นดินไหวที่เกิดในระดับตื้นกว่า 10 กิโลเมตร 2. รอยเลื่อนแพร่ อยู่ทางด้านตะวันออกของแอ่งแพร่ และวางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเริ่มต้นจากด้านตะวันตกเฉียงใต้ของอำเภอ เด่นชัย ผ่านไปทางด้านตะวันออกของอำเภอสูงเม่น และจังหวัดแพร่ ไปจนถึงด้านตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอร้องกวาง รวมความยาวทั้งสิ้นประมาณ 115 กิโลเมตร มีแผ่นดินไหวขนาด 3-4 ริคเตอร์ เกิดตามแนวรอยเลื่อนนี้กว่า 20 ครั้ง ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา ส่วนแผ่น ดินไหวขนาด 3 ริคเตอร์ ซึ่งเกิดเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2533 ที่ผ่านมา เกิดตามแนวรอยเลื่อน ซึ่งแยกจากรอยเลื่อนแพร่ไปทางทิศเหนือ 3. รอยเลื่อนแม่ทา มีแนวเป็นรูปโค้งตามแนวลำน้ำแม่วอง และแนวลำน้ำแม่ทาในเขตจังหวัดเชียงใหม่และลำพูน มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 55 กิโลเมตร 4. รอยเลื่อนเถิน อยู่ทางทิศตะตกของรอยเลื่อนแพร่ โดยตั้งต้นจากด้านตะวันตกของอำเภอเถิน จังหวัดลำปางไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ ขนานกับรอยเลื่อนแพร่ไปทางด้านเหนือ ของอำเภอเถินไปทางตะวันออกเฉียงเหนือขนานกับรอยเลื่อนแพร่ ไปทางด้านเหนือของอำเภอวังชิ้น และอำเภอลอง จังหวัดแพร่ รวมความยาวทั้งหมดประมาณ 90 กิโลเมตร เคยมีรายงานการเกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.7 ริคเตอร์ บนรอยเลื่อนนี้ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2521 5. รอยเลื่อนเมย-อุทัยธานี วางตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ ตั้งต้นจากลำน้ำเมย ชายแดนไทยพม่า ด้านจังหวัดตาก บริเวณห้วยแม่ท้อ และลำน้ำปิงใต้ ผ่านจังหวัดกำแพงเพชร และนครสวรรค์ จนถึงเขตจังหวัดอุทัยธานี รวม 250 กิโลเมตร มีรายงานแผ่นดินไหวเกิดตามรอยเลื่อนนี้ 2 ครั้ง คือ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2476 ที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก และเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2518 ที่ อำเภอ ท่าสองยาง จังหวัดตาก แผ่นดินไหวครั้งหลังนี้มีขนาด 5.6 ริคเตอร์ 6. รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ อยู่ทางด้านตะวันตกของรอยเลื่อนเมย-อุทัยธานี โดยมีทิศทางเกือบขนานกับแนวของรอยเลื่อน อยู่ในร่องน้ำแม่กลองและแควใหญ่ ตลอดขึ้นไปจนถึงเขตแดนพม่า รวมความยาวกว่า 500 กิโลเมตร บริเวณนี้มีรายงานแผ่นดินไหวขนาดเล็กหลายร้อยครั้ง ตามแนวรอยเลื่อนนี้ เคยเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุด ขนาด 5.9 ริคเตอร์ เมื่อปี 2526 7. รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ อยู่ในลำน้ำแควน้อยตลอดสาย และต่อไปจนถึงรอยเลื่อนสะแกง (Sakaing Fault) ในประเทศพม่า ความยาวของรอยเลื่อนช่วงที่อยู่ในประเทศไทยยาวกว่า 250 กิโลเมตร มีรายงานแผ่นดินไหวจากรอยเลื่อนนี้หลายพันครั้ง 8. รอยเลื่อนระนองวางตัวตามแนวร่องน้ำของแม่น้ำกระบุรี มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 270 กิโลเมตร มีรายงานแผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2521 มีขนาด 5.6 ริคเตอร์ 9. รอยเลื่อนคลองมะรุยตัดผ่านด้านตะวันออกของเกาะภูเก็ต เข้าไปในอ่าวพังงา และตามแนวคลองมะรุย คลองชะอุน และคลองพุมดวงทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จนถึงอ่าวบ้านดอน ระหว่างอำเภอพุนพินกับอำเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี รวม 150 กิโลเมตร บริเวณนี้เคยเกิดแผ่นดินไหวในปี 2476 ที่จังหวัดพังงา และทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ นอกฝั่งภูเก็ต เมื่อปี 2519 และ 2542 แผ่นดินไหวถือเป็นภัยพิบัติที่มนุษย์เราไม่สามารถพยากรณ์ได้อย่างถูกต้อง แต่สิ่งที่จำเป็นในการเผชิญหน้ากับแผ่นดินไหว คือการเตรียมความพร้อมรับการเกิดแผ่นดินไหว การให้ความรู้แก่ประชาชน พร้อมกับการออกกฎหมายควบคุมสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ให้สามารถรองรับแรงแผ่นดินไหวตามสภาพพื้นที่ และต้องมีการวางแผนการจัดการที่ดีหากเกิดความเสียหายร้ายแรงหลังจากเกิดเหตุ แผ่นดินไหว เพื่อลดความสูญเสียที่มนุษย์เราไม่สามารถคาดการณ์ได้
ตอบ ข้อ 4.


ข้อ 63

>

ที่มา : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=98009

สืบค้นข้อมูล
ปรากฏการณ์ภูเขาไฟภายใน (Intrusive Activities) เกิดจากหินหลอมละลายภายใต้เปลือกโลกเกิดแรงกดดันมากขึ้นจึงไหลแทรกตัวขึ้นมา ยังเปลือกโลก เป็นแหล่งกำเนิดของหินอัคนีระดับลึกดังที่ได้ศึกษามาแล้ว ลักษณะภูมิประเทศของปรากฏการณ์ภูเขาไฟประเภทนี้เมื่อเกิดขึ้นจะไม่สามารถ เห็นปรากฏแก่สายตาเป็นที่เด่นชัดเนื่องจากเกิดภายใต้เปลือกโลก เมื่อระยะเวลาผ่านไปเกิดการกัดเซาะผุกร่อนของสภาพภูมิประเทศจนเห็นลักษณะ ภูมิประเทศชนิดนี้

ปรากฏการณ์ภูเขาไฟภายนอก (Extrusive Activities) เกิดจากหินหลอมละลายภายใต้ความกดดันมหาศาลแทรกตัวมาตามรอยร้าวของเปลือกโลก และหินหนืดเหล่านั้นมีก๊าซเข้าไปผสมมากขึ้น โดยส่วนใหญ่จะเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และไฮโดรเจน เป็นส่วนมาก ทำให้เกิดแรงผลักดันมหาศาลเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง หรือผลักดันให้หินหนืดไหลออกมาตามรอยร้าวของเปลือกโลก ปรากฏการณ์การระเบิดของภูเขาไฟจึงเกี่ยวกับสภาวะของเปลือกโลกที่ยังไม่มั่น คง ปัจจุบันคาดกันว่าทั่วโลกยังคงมีภูเขาไฟคุกรุ่นมีพลังอยู่ประมาณ 850 ลูก แต่เป็นการยากที่จะแยกแยะระดับความรุนแรง ทั้งนี้เพราะอาจทวีความรุนแรงขึ้นอีกได้เหมือนกัน ภูเขาไฟที่เพิ่งเกิดเมื่อประมาณ 1-2 ล้านปีมาแล้ว มักเกิดโอกาสปะทุได้อีก ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดแผ่นดินไหว อย่างไรก็ตามเราสามารถจำแนกประเภทของภูเขาไฟจากปรากฏการณ์ ได้เป็น 3 ประเภท คือ
ภูเขาไฟมีพลัง (Active Volcanoes) หมายถึง ภูเขาไฟที่เคยมีประวัติถูก บันทึกว่ามีการระเบิดเกิดขึ้น จัดว่าเป็นภูเขาไฟยังมีพลังอยู่ เช่น ภูเขาไฟเอตนา ในเกาะซิซิลี ของประเทศอิตาลี
ภูเขาไฟที่สงบ (Dormant Volcanoes) หมายถึง ภูเขาไฟที่ไม่เคยถูกบันทึกว่ามีการระเบิดเกิดขึ้น และไม่มีการผุพัง จัดว่าเป็นภูเขาไฟที่สงบมันอาจเกิดการระเบิดเมื่อใดก็ได้ เช่น ภูเขาไฟ วิสุเวียส ในประเทศอิตาลี ภูเขาไฟที่ดับแล้ว (Extinct Volcanoes) หมาย ถึง ภูเขาไฟที่ไม่เคยถูกบันทึกว่ามีการระเบิดเกิดขึ้น เช่น ไม่มีไอน้ำร้อนขึ้นมา หรือไม่มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นในท้องถิ่นนั้น ๆ ภูเขาไฟประเภทนี้จัดเป็นประเภทภูเขาไฟที่ดับแล้ว เช่น ภูเขาไฟหลวง จังหวัดสุโขทัย
ตอบ ข้อ 2. 1,000 ลูก


ข้อ 64

ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phayao/oraphin_s/darasat/section1_p04.html

สืบค้นข้อมูล
ดาวฤกษ์ เป็นมวลก๊าซที่ลุกโชติช่วง ( incandescent gas ) และกระจายอยู่ทั่วทั้งเอกภพในระยะที่ห่างกันพอได้สมดุลพอดี เราอาจจุเห็นดาวฤกษ์หลายดวงอยู่กันเป็นกลุ่มในท้องฟ้ายามราตรีในรูปของจุดแสงเล็กๆ บางดวงก็มีแสงสุกใสสว่างกว่าดวงอื่น ๆ แต่นั้นก็เป็นเพียงรูปโฉมภายนอกเท่านั้น ทั้งนี้เพราะความสว่างที่เห็นนั้นขึ้นอยู่กับระยะทางที่ดาวฤกษ์ดวงนั้นๆ อยู่ห่างจากโลก อายุขัยของดาวฤกษ์แต่ละดวงไม่เท่ากัน ทว่ามันก่อเกิดขึ้น เติบโต และดับไปในที่สุดเหมือนๆกัน ดาวฤกษ์บางดวง เช่น ดวงอาทิตย์ มีดาวบริวารที่เรียกว่า ดาวเคราะห์ ( planet ) หลายดวงซึ่งแต่ละดวงหมุนรอบตัวเองและโคจรอยู่รอบดาวฤกษ์ดวงนั้นๆ

ความสว่างกับขนาด (BRIGHTNESS AND SIZE) เมื่อเราดูดาวฤกษ์ในตอนกลางคืน จะเห็นว่าบางดวงมีแสงสว่างกว่าดวงอื่น ๆ แต่นั้นเป็นสิ่งที่เราเห็นภายนอกเท่านั้น แท้ที่จริงความสว่าง (brightness) ที่เราเห็นขึ้นอยู่กับขนาด (size) ที่มีมาแต่ดั้งเดิมของดาวฤกษ์ดวงนั้น ๆ และขึ้นอยู่กับว่ามันอยู่ไกลจากเราเท่าใดด้วย ด้วยเหตุนี้เราจึงเห็นดาวฤกษ์ดวงที่มีขนาดใหญ่มากและมีแสงสุกใสสว่างมากกลับมีความสว่างน้อยกว่าที่ควรจะเห็น และเห็นดาวฤกษ์ดวงที่มีขนาดเล็กและมีแสงไม่สุกใสสว่างมากนักแต่อยู่ใกล้เรามากกว่ากลับมีความสว่างมาก ทำให้ต้องมีการกำหนดขนาดที่ปรากฏ (apparent size – ความสว่างที่เห็น ) กับขนาดสัมบูรณ์ ( absolute size - ขนาดจริง ) ของดาวฤกษ์แต่ละดวงนั้น
สีของดาวฤกษ์ (THE COLOR OF STARS ) ถ้าเราดูให้ดีแล้วจะเห็นว่าดาวฤกษ์แต่ละดวงนั้นมีสีไม่เหมือนกันแต่เดิมนั้นมีการจำแนกสีดาวฤกษ์ออกเป็น 4 ประเภท คือ แดง ส้ม เหลือง และขาว แต่ละสีแทน อุณหภูมิของดาวฤกษ์ สีขาวแทนดาวฤกษ์ที่ร้อนจัดที่สุด ส่วนสีแดงแทนดาวฤกษ์ที่ร้อนน้อยที่สุด การให้สีอย่างนี้ก็คล้ายกับสีของชิ้นเหล็กที่กำลังถูกไฟเผา ในตอนแรกมันจะร้อนแดงก่อน ต่อมาเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นสีของมันก็จะเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งเป็นสีขาวแกมน้ำเงินในที่สุด แต่นักดาราศาสตร์ปัจจุบันได้จำแนกสีของดา
ตอบ ข้อ 4.

วันอังคารที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ข้อ1 วัตถุชิ้นหนึ่งถุกดูดโดยแม่เหล้กทั้งสองของแท่งแม่เหล้กแท่งหนึ่ง อยากทราบว่าวัตถุชิ้นนี้เป็นสารแม่เหล็กหรือแท่งแม่งเหล็กเพราะเหตุใด
ก. สารแม่เหล็กเพราะดูดทั้งหมด
ข. แม่เหล็กเพราะดูดทั้งหมด
ค. เป้นทั้งสองอย่างเพราะดูดทั้งหมด
ง. ไม่ใช่ทั้งสอง
เฉลย ข.แม่เหล็กดูดทั้งหมด

ข้อ2 ในการทดลองน่าแม่เหล้กแท่งหนึ่งน่ามาจอใกล้ๆบริเวณขั้วเหนือของเข็มทิศพบว่าเข็มทิศไม่เปลียนทิศการชี้นักเรียนคิดว่าแม่เหล็กที่น่ามานี้เป็นอย่างไร

ก. เป็นขั้วต่างชนิดกับเข็มทิศ
ข. เป็นขั้วชนิดเดียวกันกับเข็มทิศ
ค.แม่เหล็กนี้หมดประสิทธิภาพ
ง.แม่เหล็กดั่งกล่าวกลายเป็นสนิม
เฉลย ก.เป็นขั้วต่างชนืดกับเข็มทิศ



ข้อ3. เมื่อมีอิเล็คตรอนเคลื่อนที่ผ่านบริเวณหนึ่งซึ่งมีสนามกรณีที่ความเร็วของอิเล็ตรอนไม่เปล๊ยนแปลง
ก.ขนานกับแม่เหล็ก
ข.ขนานกับสนามไฟฟ้า
ค.ตั้งฉากกับสนามไฟฟ้า
ง.ตัง้ฉากกับสนามไฟฟ้า
เฉลย ง.ตั้งฉากกับสนามไฟฟ้า

ข้อ4. เมื่อให้อิเล็ตรอนเคลื่อนที่เข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กสมำเสมอBโดยไม่ตั้งฉากกับBอิเลคตรอนจะมีแนวเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กเป็นอย่างไร
ก.เส้นตรงเบนออกจากแนวเดิม
ข.ส่วนของวงกลม
ค.ส่วนโค้งเป็เกลียว
ง.ว่วนของวงรี
เฉลยค.ส่วนโค้งเป้นเกลียว

ข้อ5. ต่อตัวเก็บประจุเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ5เฮิรตช์สังเกตดูจะเห็นว่ากระแสไฟฟ้ามีค่ามากที่สุดช่วงช่วงเวลาหนึ่งก่อนที่ความต่างศักย์คร่อมตัวเก็บประจุจะมีค่ามากที่สุดใช้เวลาน้อยที่สุดกี่วินาที
ก. 1.5
ข.1
ค.0.5
ง.0.05
เฉลยก.15
ข.

ข้อ3.

วันอังคารที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ข้อตกลงในการเรียนด้วย Social Media ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

1. เข้าศึกษาเว็บกลาง ม.5 ที่ http://m5term2debsamut.blogspot.com/
2. ปฏิบัติตามคำแนะนำในแต่ละคาบเวลาที่กำหนดไว้
3. ดำเนินกิจกรรมตามใบงานที่กำหนด
4. ส่งงานตามใบงานกำหนดให้เสร็จสมบูรณ์ตามเวลาที่กำหนด
5. บันทึก/Capture หน้างาน ส่งทางเมล์ทุกครั้งที่ทำงานแล้วเสร็จ
ม.5 ส่งที่ karnpitcha_jee@yahoo.co.th
6. ไฟล์ที่ส่งงาน ให้บันทึกวันที่ทำงานตามด้วย ห้องและเลขที่ของนักเรียน เช่น ปฏิบัติกิจกรรมวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 ห้อง 5/3 เลขที่ 28 เป็นดังนี้ 1-11-2553-5328
7. ไม่รับงานที่ช้ากว่ากำหนด ยกเว้นมีเหตุจำเป็นจะพิจารณาเป็นราย ๆ ไป ลำดับการส่งงานมีผลต่อคะแนนเก็บด้วย
8. ผู้ที่ขาดการส่งงานเกิน 3 ครั้งจะขอพบผู้ปกครองเพื่อดำเนินการแก้ไขต่อไป